1. กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการหมัก (Fermentation Technology)

2. กลุ่มวิจัยการผลิตแอนติบอดี (Antibody Production)

3. กลุ่มวิจัยโปรตีนและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ (Protein and Genetic Engineering)

4. กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร (Argricultural Technology)

กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการหมัก (Fermentation Technology) 

        

เทคโนโลยีการหมักเป็นศาสตร์หนึ่งในเทคโนโลยีชีวภาพซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการทางชีวเคมี ที่เปลี่ยนสารตั้งต้นไปเป็นผลิตภัณฑ์ ด้วยการทำงานของจุลินทรีย์ โดยกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการหมักของสถาบันเทคโนโลยีชีวภาพและวิศวกรรมพันธุศาสตร์นั้น เป็นกลุ่มวิจัยที่มีอาจารย์และนักวิจัยที่ความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ เช่น การคัดเลือกและคัดแยกเชื้อจุลินทรีย์ การศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมต่อกระบวนการหมักเพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้คุณภาพและมีปริมาณสูง รวมไปถึงการออกแบบกระบวนการหมักเพื่อขยายขนาดการผลิตสู่ภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเป็นเวลา 9 ปี กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการหมักได้มีความร่วมมือด้านการวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และวัฒกรรม ให้คำปรึกษากับหน่วยงานภาครัฐและเอกชนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีในระดับอุตสาหกรรมกับบริษัทชั้นนำในประเทศได้แก่ บรืษัท พีทีที โกบอลเคมีคอล จำกัด (มหาชน) และบริษัทมิตรผล วิจัยพัฒนาอ้อยและน้ำตาล จำกัด นอกจากนี้ยังได้มีความร่วมมือกับบริษัทชั้นนำจากประเทศญี่ปุ่น ไดแก่บริษัท Masasnino Chemecal Laboratories , Limited และ Iwata Chemecal Company Limited

ผลงานวิจัยที่ผ่านมา

  • คัดเลือกและปรับปรุงสายพันธ์ุของจุลินทรีย์ (strain improvement)
  • ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการหมัก (Process Optimization)
  • พัฒนากระบวนการผลิต (Process Development)
  • ขยายระดับการผลิต (Process Scale-Up)
  • พัฒนาเทคโนโลยีการถ่ายโอนในระดับอุตสาหกรรม (Technology Transfer of Commercial Scale)
  • พัฒนากระบวนการเก็บเกี่ยวและเทคนิคการทำให้บริสุทธิ์ (Downstream Processing)
  • หน่วยงานที่ร่วมงาน


งานเลีี้ยงเซลล์จุลินทรีย์ด้วยระบบถังหมักขนาด 30, 60 และ 300 ลิตร

กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการหมัก (Fermentation Technology) 

การวิจัยและพัฒนากระบวนการผลิตเทคโนโลยีการหมัก ประกอบด้วย

  • Lactic Acid
  • Succinic Acid
  • 2,3-Butanediol
  • PHAs
  • Single Cell Protein
  • Yeast Extrac

ผลงานวิจัยที่ผ่านมา

  • คัดเลือกและปรับปรุงสายพันธ์ุของจุลินทรีย์ (strain improvement)
  • ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในกระบวนการหมัก (Process Optimization)
  • พัฒนากระบวนการผลิต (Process Development)
  • ขยายระดับการผลิต (Process Scale-Up)
  • พัฒนาเทคโนโลยีการถ่ายโอนในระดับอุตสาหกรรม (Technology Transfer of Commercial Scale)
  • พัฒนากระบวนการเก็บเกี่ยวและเทคนิคการทำให้บริสุทธิ์ (Downstream Processing)

คณะผู้ทำวิจัย

** หัวข้อวิจัย Biotechnology, B ioengineering and  Bioprocessing; emphasizing on development of novel fermentation and bioseparation process to produce value-added products such as organic acids and biopolymers from locally available low-value feedstocks.
รศ.ดร ณัฏฐา ทองจุล

** หัวข้อวิจัย
กระบวนการการแปรสภาพและย่อยสลายวัสดุเซลลูโลสให้เป็นน้ำตาล  เพื่อผลิตเอทานอล
อ.ดร. ศิริลักษณ์ ธีระดากร

นวัตกรรมสู่การผลิตที่เป็นประโยชน์ต่อชาติ

กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร (Agricultural Biotechnology)

            กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร ได้ศึกษาและพัฒนาการผลิตเส้นใยเมล็ดแมงลักไขมันต่ำ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ และได้จัดทำโครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดแมงลักปราศจากสารก่อมะเร็ง (อะฟลาทอคซิน) ให้แก่เกษตรกรรมในจังหวัดสุโขทัย และพื้นที่ใกล้เคียง นอกจากนี้กลุ่มวิจัยได้ทำการศึกษาองค์ประกอบของกรดไขมันในพืชน้ำมันทางเลือกชนิดต่างๆ มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำมาจัดทำเป็นคลังของสารมาตรฐานกรดไขมัน

            ยุทธศาสตร์ด้านวิจัยในอนาคต สำหรับกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการเกษตรมุ่งเน้นไปที่ – การสกัดสารมูลค่าเพิ่มจากของเหลือทิ้ง และของเสียจากภาคการเกษตร – การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพจากน้ำมันเมล็ดแมงลักและเส้นใยเมล็ดแมงลัก โดยใช้เทคนิคคาร์บอนไดออกไซต์ ภาวะเหนือวิกฤตเป็นเทคโนโลยีหลักในกระบวนการสกัด นอกจากนี้การปรับสภาพเบื้องต้นของชีวมวลทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการหมักเป็นงานที่น่าสนใจอีกด้านหนึ่ง

บรรยาย : โครงการชุมชนคาร์บอนต่ำ อาหารปลอดสารพิษ พิชิตความยากจน รุ่นที่1 ครั้งที่ 1 วันที่ 1-25 ตุลาคม 2564

Green energy kitchen for low-carbon community and non-toxic food

คณะผู้ทำวิจัย

  • อ.ดร ศรินทิพ สุกใส  ผลงานวิจัน
  • ดร. เรืองวิทย์ สว่างแก้ว  ผลงานวิจัย
  • คุณศจี น้อยตั้ง  ผลงานวิจัย
  • ว่าที่ ร.อ. วีระเดช สุขเอียด  ผลงานวิจัย

หัวข้อวิจัย

RSK Research

การสกัดผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่าด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต (supercritical CO2

การปรับสภาพเบื้องต้นฟางข้าวเพื่อย่อยเป็นน้ำตาลด้วยน้ำภาวะใต้วิกฤต (subcritical water) 

การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพด้วยของไหลภาวะเหนือวิกฤต (supercritical fluids) 

ชีวมวลลิพิด (lipid-based biomass) สำหรับผลิตไบโอดีเซล 

  •  การศึกษาความสามารถในการดูดซับของผลเมล็ดแมงลัก
  •  การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ
  • การปลูกและการเก็บผลผลิตเปล้าน้อย
  •  การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  • การนำยอดเปล้าน้อยจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเสียบยอดต้นตอเปล้าใหญ่
  • ขยายพันธุ์ต้นเปล้าน้อยในแปลงทดลองการปลูกและการเก็บผลผลิตเปล้าน้อย
  • การส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเปล้าน้อย
  • การปลูกและขยายพันธุ์เกาลัดไทยโดยวิธีการตอนกิ่ง
  • การสกัดน้ำมันจากเมล็ดพืชชนิดต่างๆ ด้วยเครื่องบีบสกรูเดี่ยว
  • การศึกษาการทนต่อระดับน้ำท่วมขังของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน
  • การศึกษาการผสมกล้วยกับทุเรียนเพื่อการทำผลิตภัณฑ์อบแห้ง

ผลงานวิจัย

  • การถ่ายทอดเทคโนโลยีกรรมวิธีการผลิตแมงลักปราศจาก
    สารอะฟลาทอกซิน
    (ข่าว)   (รูปถ่าย) 
  • บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด  

การถ่ายทอดเทคโนโลยีกรรมวิธีการผลิตแมงลักปราศจาก
สารอะฟลาทอกซิน 

การศึกษาการกระตุ้นการงอกเมล็ดและการเจริญเติบโตของถั่วเหลือง การขยายพันธุ์ต้นเปล้าน้อยโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการเปลี่ยนยอด คุณสมบัติการพองตัวและอุ้มน้ำของสารเมือกของผงเมล็ดแมงลักหลังสกัดน้ำมัน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อชวนชม


กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร (Agricultural Biotechnology)

            กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร ได้ศึกษาและพัฒนาการผลิตเส้นใยเมล็ดแมงลักไขมันต่ำ เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ และได้จัดทำโครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดแมงลักปราศจากสารก่อมะเร็ง (อะฟลาทอคซิน) ให้แก่เกษตรกรรมในจังหวัดสุโขทัย และพื้นที่ใกล้เคียง นอกจากนี้กลุ่มวิจัยได้ทำการศึกษาองค์ประกอบของกรดไขมันในพืชน้ำมันทางเลือกชนิดต่างๆ มาอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำมาจัดทำเป็นคลังของสารมาตรฐานกรดไขมัน

            ยุทธศาสตร์ด้านวิจัยในอนาคต สำหรับกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการเกษตรมุ่งเน้นไปที่ – การสกัดสารมูลค่าเพิ่มจากของเหลือทิ้ง และของเสียจากภาคการเกษตร – การผลิตอาหารเพื่อสุขภาพจากน้ำมันเมล็ดแมงลักและเส้นใยเมล็ดแมงลัก โดยใช้เทคนิคคาร์บอนไดออกไซต์ ภาวะเหนือวิกฤตเป็นเทคโนโลยีหลักในกระบวนการสกัด นอกจากนี้การปรับสภาพเบื้องต้นของชีวมวลทางการเกษตรเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการหมักเป็นงานที่น่าสนใจอีกด้านหนึ่ง

บรรยาย : โครงการชุมชนคาร์บอนต่ำ อาหารปลอดสารพิษ พิชิตความยากจน รุ่นที่1 ครั้งที่ 1 วันที่ 1-25 ตุลาคม 2564

Green energy kitchen for low-carbon community and non-toxic food

หัวข้อวิจัย

การสกัดผลิตภัณฑ์เพิ่มมูลค่าด้วยคาร์บอนไดออกไซด์ภาวะเหนือวิกฤต (supercritical CO2

การปรับสภาพเบื้องต้นฟางข้าวเพื่อย่อยเป็นน้ำตาลด้วยน้ำภาวะใต้วิกฤต (subcritical water) 

การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพด้วยของไหลภาวะเหนือวิกฤต (supercritical fluids) 

ชีวมวลลิพิด (lipid-based biomass) สำหรับผลิตไบโอดีเซล 

  •  การศึกษาความสามารถในการดูดซับของผลเมล็ดแมงลัก
  •  การสกัดน้ำมันจากเมล็ดแมงลักและคุณสมบัติการพองตัวของสารเมือกจากกากที่เหลือ
  • การปลูกและการเก็บผลผลิตเปล้าน้อย
  •  การคัดเลือกต้นเปล้าน้อยที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
  • การนำยอดเปล้าน้อยจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเสียบยอดต้นตอเปล้าใหญ่
  • ขยายพันธุ์ต้นเปล้าน้อยในแปลงทดลองการปลูกและการเก็บผลผลิตเปล้าน้อย
  • การส่งเสริมการใช้ผลิตภัณฑ์สมุนไพรเปล้าน้อย
  • การปลูกและขยายพันธุ์เกาลัดไทยโดยวิธีการตอนกิ่ง
  • การสกัดน้ำมันจากเมล็ดพืชชนิดต่างๆ ด้วยเครื่องบีบสกรูเดี่ยว
  • การศึกษาการทนต่อระดับน้ำท่วมขังของต้นกล้าปาล์มน้ำมัน
  • การศึกษาการผสมกล้วยกับทุเรียนเพื่อการทำผลิตภัณฑ์อบแห้ง

ผลงานวิจัย

  • การถ่ายทอดเทคโนโลยีกรรมวิธีการผลิตแมงลักปราศจาก
    สารอะฟลาทอกซิน
    (ข่าว)   (รูปถ่าย) 
  • บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด  

การศึกษาการกระตุ้นการงอกเมล็ดและการเจริญเติบโตของถั่วเหลือง การขยายพันธุ์ต้นเปล้าน้อยโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อและการเปลี่ยนยอด คุณสมบัติการพองตัวและอุ้มน้ำของสารเมือกของผงเมล็ดแมงลักหลังสกัดน้ำมัน การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อชวนชม

ม 2559   ณ อาคารสถาบัน 2 ชั้น 4 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กลุ่มวิจัยการผลิตแอนติบอดี (Antibody Production)

            การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์และการประยุกต์ใช้ในการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์เป็นวิธีการพื้นฐาน ที่จะนำไปใช้ศึกษาวิจัยงานในด้านต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีห้องปฎิบัติการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่ได้มาตราฐานมากมาย การทดสอบการมีชีวิตของเซลล์โดยวิธี MTT colorimetric assay ก็เป็นวิธีการหนึ่งในงานวิจัยที่ศึกษาความเป็นพิษของสารต่อเซลล์มะเร็งเป้าหมาย สารเหล่านั้น ได้แก่ สารสกัดจากพืชสมุนไพร สารสังเคราะห์ซึ่งมีการปรับสูตรโครงสร้าง หรือมีการเชื่อมต่อของสารเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการทำลายเซลล์มะเร็งได้สูงขึ้น อีกทั้งยังมีการศึกษาสารอนุภาคขนาดเล็กระดับนาโนในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง หรือสารที่ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์ปกติเมื่อผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ

กลุุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์และการประยุกต์ใช้ มีการดำเนินงานวิจัยและบริการวิชาการ 4 ด้าน ได้แก่

1. การเพาะเลี้ยงเซลล์ไลน์ (cultured cell lines)
เซลล์สัตว์ (Animal cell line)

1. Hybridoma cell
2. Cancer cell
3. Fibroblast cell

2. การทดสอบพิษต่อเซลล์ (Cytotoxicity test)
ทดสอบพิษของสาร

1. สารสกัดจากพืช
2. อนุภาคนาโน
3. สารเคมีสังเคราะห์
4. สารโปรตีน

3. มอนอโคลนอลแอนติบอดี
ยาปฏิชีวนะ 
Nitrofural, Tetacyclines, Oxytetracycline, Quinolone, Chloramphenicol
สารเร่งเนื้อแดง : Ractopamine, Clebuteral, Salbutemol
เชื้อโรคในอาหาร : Yersinia enterocolitica, Campylobacter jejuni, Vibrio paraemolyticus
ฮอร์โมน : Progesterone
สารก่อมะเร็ง : Aflatoxin M1
เซลล์มะเร็งตับ : Anti-hepatoma

4. การประยุกต์ใช้งานด้านความปลอดภัยทางอาหาร
4.1 ชุดทดสอบ Elisa สำหรับตรวจ
ยาปฎิชีวนะ : Nitrofuran, Tetacyclines, Oxytetracycline, Quinolone, Chloramphenicol
สารเร่งเนื้อแดง : Ractopamine, Clebuteral, Salbutemol
เชื้อโรคในอาหาร : Yersinia enferocolitica, Campylobacter jejuni, Vibrio paraemolyticus
ฮอร์โมน : Progesterone
สารก่อมะเร็ง : Aflatoxin M1(AFM1)

4.2 แถบทดสอบ (Test strip) สำหรับตรวจ
ยาปฎิชีวนะ : Nitrofuran, Entrofloxacin, Norfloxacin, Tetracyclines, Oxytetracycline
ฮอร์โมน : Progesterone
สารก่อมะเร็ง : Aflatoxin M1(AFM1)

            การตรวจสอบการมีชีวิตของเซลล์โดยวิธี MTT colorimetric assary ยังเป็นวิธีการทดสอบที่ใช้ทดแทนการทดลองที่ต้องใช้สัตว์ทดลอง ซึ่งมีความยุ่งยากในการดูแลสัตว์ และต้องปฎิบัติตามจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์ การทดสอบสารกับเซลล์ที่เพาะเลี้ยงในห้องปฎิบัติการเป็นวิธีการที่ให้ผลรวดเร็วลดการใช้สัตว์ทดลอง และสามารถทดสอบกับเซลล์ของคนหรือสัตว์ได้โดยตรง ดังนั้นสารหรือผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาใช้กับคนจึงต้องทำการวิจัยทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์เบื้องต้นก่อนนำมาใช้ เช่น งานวิจัยเกี่ยวกับสารสกัดสมุนไพร การพัฒนายาใหม่ที่มีคุณสมบัติต้านการเจริญของเซลล์มะเร็ง สารปรุงแต่งอาหาร ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ซึ่งต้องมีการประเมิณประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสารนั้นๆ ดังนั้นเทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ และการตรวจสอบการมีชีวิตของเซลล์โดยวิธี MTT colorimetric assay เป็นวิธีการสะดวกรวดเร็ว และมีประโยชน์ในการศึกษาตรวจสอบความเป็นพิษของสารต่อเซลล์ และเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในงานวิจัยปัจจุบัน

กลุ่มวิจัยโปรตีนและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ (Protein and Genetic Engineering)

           โปรตีนและเพปไทด์กำลังได้รับการพัฒนาเป็นยาชนิดใหม่ในยุคปัจจุบันเพื่อไปใช้เป็นยารักษาโรค โดยในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนายาโปรตีนและเพปไทด์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากจากบริษัทยาชั้นนำ เนื่องจากพบว่ามีประสิทธิภาพสูงในการรักษาและมีผลข้างเคียงน้อย ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (US-FDA) ประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อนชื้น มีข้อได้เปรียบด้านความอุดมสมบูรณ์ของผลิตภัณธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพมากกว่าภูมิภาคอื่นๆของโลก โดยเฉพาะสาร ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ได้แก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพมีการรายงานกันอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเพื่อการบำบัดรักษาโรคที่เป็นปัญหาหลักของประเทศ ยาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันอาจไม่ได้ผลหรือได้ผลย้อย ทำให้ต้องมีการพัฒนายาที่ใช้รักษาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ดังนั้นการค้นพบสารออกฤทธ์ชนิดใหม่ๆ จึงมีความจำเป็นสูงมากเพื่อที่จะให้การรักษามีประสิทธิภาพต่อไป โดยเฉพาะโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ เนื่องจากในปัจจุบันวิวัฒนาการทางการแพทย์สูงขึ้นส่งผลให้อายุเฉลี่ยของประชากรสูงขึ้นตามไปด้วย ทำให้โรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมีความสำคัญตามไปด้วย เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคไตและภาวะความดันโลหิต เป็นต้น

            ในกลุ่มงานวิจัยโปรตีนและวิศวกรรมพันธุศาสตร์มุ่งเน้นที่จะค้นหาโปรตีนและเพปไทด์ชนิดใหม่ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยมาจากวัสดุเหลือทั้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม เช่น เมล็ดผลไม้จากอุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง ขนไก่ป่นจากอุตสาหกรรมสัตว์ปีกและกระดูกปลาแซลมอนจากอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง เป็นต้น ศึกษาลักษณะสมบัติของโปรตีนและเพปไทด์เชิงลึก กลไกการออกฤทธิ์ทางชีวภาพในระดับโมเลกุล พิสูจน์เอกลักษณ์ของโปรตีนและเพปไทด์ที่ได้ การพัฒนาและผลิตระบบนำส่งโปรตีนและเพปไทด์สู่เป้าแบบใหม่ๆ เพื่อรักษาโรคที่ซับซ้อน และยังให้ความสนใจทางด้านพันธุวิศวกรรมของยิสต์และแบคที่เรีย เพื่อพัฒนาการผลิตโปรตีนและเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ เช่น การผลิตอินซูลิน การผลิตเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ขจัดอนุมูลอิสระ โดยเทคนิคพันธุวิศวกรรม กลุ่มงานวิจัยฯ มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับนานาชาติ เพื่อเป็นองค์ความรู้ใหม่ ที่จะเป็นฐานสำคัญสำหรับการสร้างประโยชน์ให้แก่ประชาชาติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ยังมีความพร้อมที่จะร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่มีความสนใจ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด

คณะผู้ทำวิจัย

รศ.ดร. อภิชาติ กาญจนทัต

อ.ดร.ศรินทิพ สุกใส

คุณปภัสสรา แสงธนู

คุณธนพร วิชัย

หัวข้อวิจัย

Exploring on small peptide molecules from natural samples for the activities to enhance living wellness. Combining protein engineering with genetic tools to design the microbes for large-scale production of small peptide from natural samples.

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด  

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีกาหมัก (Fermentation Technology)
กลุ่มวิจัยการผลิตแอนติบอดี (Antibody Production)
กลุ่มวิจัยโปรตีนและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ (Protein and Genetic Engineering)
กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร (Argricultural Technology)


บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด  

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด 

กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีกาหมัก (Fermentation Technology)

กลุ่มวิจัยการผลิตแอนติบอดี (Antibody Production)

            การเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์และการประยุกต์ใช้ในการทดสอบฤทธิ์ทางชีวภาพ เทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์เป็นวิธีการพื้นฐาน ที่จะนำไปใช้ศึกษาวิจัยงานในด้านต่างๆ ซึ่งในปัจจุบันมีห้องปฎิบัติการเพาะเลี้ยงเซลล์ที่ได้มาตราฐานมากมาย การทดสอบการมีชีวิตของเซลล์โดยวิธี MTT colorimetric assay ก็เป็นวิธีการหนึ่งในงานวิจัยที่ศึกษาความเป็นพิษของสารต่อเซลล์มะเร็งเป้าหมาย สารเหล่านั้น ได้แก่ สารสกัดจากพืชสมุนไพร สารสังเคราะห์ซึ่งมีการปรับสูตรโครงสร้าง หรือมีการเชื่อมต่อของสารเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการทำลายเซลล์มะเร็งได้สูงขึ้น อีกทั้งยังมีการศึกษาสารอนุภาคขนาดเล็กระดับนาโนในการยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง หรือสารที่ไม่เป็นอันตรายต่อเซลล์ปกติเมื่อผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ

กลุุ่มวิจัยการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์และการประยุกต์ใช้ มีการดำเนินงานวิจัยและบริการวิชาการ 4 ด้าน ได้แก่

1. การเพาะเลี้ยงเซลล์ไลน์ (cultured cell lines)
เซลล์สัตว์ (Animal cell line)

1. Hybridoma cell
2. Cancer cell
3. Fibroblast cell

2. การทดสอบพิษต่อเซลล์ (Cytotoxicity test)
ทดสอบพิษของสาร

1. สารสกัดจากพืช
2. อนุภาคนาโน
3. สารเคมีสังเคราะห์
4. สารโปรตีน

3. มอนอโคลนอลแอนติบอดี
ยาปฏิชีวนะ 
Nitrofural, Tetacyclines, Oxytetracycline, Quinolone, Chloramphenicol
สารเร่งเนื้อแดง : Ractopamine, Clebuteral, Salbutemol
เชื้อโรคในอาหาร : Yersinia enterocolitica, Campylobacter jejuni, Vibrio paraemolyticus
ฮอร์โมน : Progesterone
สารก่อมะเร็ง : Aflatoxin M1
เซลล์มะเร็งตับ : Anti-hepatoma

4. การประยุกต์ใช้งานด้านความปลอดภัยทางอาหาร
4.1 ชุดทดสอบ Elisa สำหรับตรวจ
ยาปฎิชีวนะ : Nitrofuran, Tetacyclines, Oxytetracycline, Quinolone, Chloramphenicol
สารเร่งเนื้อแดง : Ractopamine, Clebuteral, Salbutemol
เชื้อโรคในอาหาร : Yersinia enferocolitica, Campylobacter jejuni, Vibrio paraemolyticus
ฮอร์โมน : Progesterone
สารก่อมะเร็ง : Aflatoxin M1(AFM1)

4.2 แถบทดสอบ (Test strip) สำหรับตรวจ
ยาปฎิชีวนะ : Nitrofuran, Entrofloxacin, Norfloxacin, Tetracyclines, Oxytetracycline
ฮอร์โมน : Progesterone
สารก่อมะเร็ง : Aflatoxin M1(AFM1)

            การตรวจสอบการมีชีวิตของเซลล์โดยวิธี MTT colorimetric assary ยังเป็นวิธีการทดสอบที่ใช้ทดแทนการทดลองที่ต้องใช้สัตว์ทดลอง ซึ่งมีความยุ่งยากในการดูแลสัตว์ และต้องปฎิบัติตามจรรยาบรรณการใช้สัตว์ทดลองเพื่องานทางวิทยาศาสตร์ การทดสอบสารกับเซลล์ที่เพาะเลี้ยงในห้องปฎิบัติการเป็นวิธีการที่ให้ผลรวดเร็วลดการใช้สัตว์ทดลอง และสามารถทดสอบกับเซลล์ของคนหรือสัตว์ได้โดยตรง ดังนั้นสารหรือผลิตภัณฑ์ที่จะนำมาใช้กับคนจึงต้องทำการวิจัยทดสอบความเป็นพิษต่อเซลล์เบื้องต้นก่อนนำมาใช้ เช่น งานวิจัยเกี่ยวกับสารสกัดสมุนไพร การพัฒนายาใหม่ที่มีคุณสมบัติต้านการเจริญของเซลล์มะเร็ง สารปรุงแต่งอาหาร ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและวัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ ซึ่งต้องมีการประเมิณประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสารนั้นๆ ดังนั้นเทคนิคการเพาะเลี้ยงเซลล์สัตว์ และการตรวจสอบการมีชีวิตของเซลล์โดยวิธี MTT colorimetric assay เป็นวิธีการสะดวกรวดเร็ว และมีประโยชน์ในการศึกษาตรวจสอบความเป็นพิษของสารต่อเซลล์ และเป็นวิธีที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายในงานวิจัยปัจจุบัน

คณะผู้ทำวิจัย

ผศ.ดร. กิตตินันท์ โกมลภิส

ผศ.ดร. นันทิกา คงเจริญพร

ผศ.ดร.จรรยา ชัยเจริญพงศ์

คุณทรงจันทร์ ภู่ทอง

คุณอณุมาศ บัวเขียว

คุณอุมาพร พิมพ์พิทักษ์

หัวข้อวิจัย

การพัฒนาชุดตรวจวิเคราะห์โพรเจสเทอโรนในน้ำนมโคด้วยวิธีเอนไซม์ลิงค์อิมมูโนซอร์เบนท์แอสเสย์

 การผลิตโมโนโคลนอลแอนติบอดีต่อเซมิคาร์บาไซด์

ผลงานวิจัย – บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด1

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด2

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด3

บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงสูงสุด4

กลุ่มวิจัยโปรตีนและวิศวกรรมพันธุศาสตร์ (Protein and Genetic Engineering)

            โปรตีนและเพปไทด์กำลังได้รับการพัฒนาเป็นยาชนิดใหม่ในยุคปัจจุบันเพื่อไปใช้เป็นยารักษาโรค โดยในช่วงหลายปีที่ผ่านมาได้มีการพัฒนายาโปรตีนและเพปไทด์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนเป็นอย่างมากจากบริษัทยาชั้นนำ เนื่องจากพบว่ามีประสิทธิภาพสูงในการรักษาและมีผลข้างเคียงน้อย ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาประเทศสหรัฐอเมริกา (US-FDA) ประเทศไทยเป็นประเทศในเขตร้อนชื้น มีข้อได้เปรียบด้านความอุดมสมบูรณ์ของผลิตภัณธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพมากกว่าภูมิภาคอื่นๆของโลก โดยเฉพาะสาร ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ได้แก่ พืช สัตว์ และจุลินทรีย์ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพมีการรายงานกันอย่างต่อเนื่อง โดยส่วนใหญ่เป็นการวิจัยเพื่อการบำบัดรักษาโรคที่เป็นปัญหาหลักของประเทศ ยาที่มีใช้อยู่ในปัจจุบันอาจไม่ได้ผลหรือได้ผลย้อย ทำให้ต้องมีการพัฒนายาที่ใช้รักษาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ดังนั้นการค้นพบสารออกฤทธ์ชนิดใหม่ๆ จึงมีความจำเป็นสูงมาก
เพื่อที่จะให้การรักษามีประสิทธิภาพต่อไป โดยเฉพาะโรคที่เกิดกับผู้สูงอายุ เนื่องจากในปัจจุบันวิวัฒนาการทางการแพทย์สูงขึ้นส่งผลให้อายุเฉลี่ย
ของประชากรสูงขึ้นตามไปด้วย ทำให้โรคที่เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุมีความสำคัญตามไปด้วย เช่น โรคหัวใจ โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน โรคไตและภาวะความดันโลหิต เป็นต้น

            ในกลุ่มงานวิจัยโปรตีนและวิศวกรรมพันธุศาสตร์มุ่งเน้นที่จะค้นหาโปรตีนและเพปไทด์ชนิดใหม่ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ โดยมาจากวัสดุเหลือทั้งในภาคอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม เช่น เมล็ดผลไม้จากอุตสาหกรรมผลไม้กระป๋อง ขนไก่ป่นจากอุตสาหกรรมสัตว์ปีกและกระดูกปลาแซลมอนจากอุตสาหกรรมอาหารทะเลแช่แข็ง เป็นต้น ศึกษาลักษณะสมบัติของโปรตีนและเพปไทด์เชิงลึก กลไกการออกฤทธิ์ทางชีวภาพในระดับโมเลกุล พิสูจน์เอกลักษณ์ของโปรตีนและเพปไทด์ที่ได้ การพัฒนาและผลิตระบบนำส่งโปรตีนและเพปไทด์สู่เป้าแบบใหม่ๆ เพื่อรักษาโรคที่ซับซ้อน และยังให้ความสนใจทางด้านพันธุวิศวกรรมของยิสต์และแบคที่เรีย เพื่อพัฒนาการผลิตโปรตีนและเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ทางชีวภาพ เช่น การผลิตอินซูลิน การผลิตเพปไทด์ที่มีฤทธิ์ขจัดอนุมูลอิสระ โดยเทคนิคพันธุวิศวกรรม กลุ่มงานวิจัยฯ มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับนานาชาติ เพื่อเป็นองค์ความรู้ใหม่ ที่จะเป็นฐานสำคัญสำหรับการสร้างประโยชน์ให้แก่ประชาชาติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ยังมีความพร้อมที่จะร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่มีความสนใจ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด